วันพุธที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

นำเสนอบทควา


นำเสนอบทความเรื่อง  คณิตสำหรับเด็ก วิธีง่าย ๆ ให้ลูกเก่งคณิตศาสตร์แบบที่ใครก็ทำได้




วันอังคารที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

สรุปงานวิจัย


          งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง รื่องการพัฒนากวามสามารถการกิดวิเกราะห์พื้นฐานทางคณิตสาสตร์ของเด็กระดับปฐมวัย
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
               1.ศึกษาพัฒนาความสามารถการคิดวิเกราะห์พื้นฐานทางคณิตตาสตร์ของเด็กระดับปฐมวัยโดยใช้ชุดกิจกรรม
               2.ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรีขนรู้โคขใช้ชุดกิจกรรมการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิตศาสตร์
               3. ศึกษาประสิทธิภพ ชุดกิจกรรมพัฒนาความสามารถการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิดศาสตร์ของเด็กปฐมวัยเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการเรียนรู้ โดยใช้โครงงาน
สมมติฐานของการวิจัย
               1.เค็กปฐมวัยที่จัดประสบการณ์โดยใช้ชุดกิจกรรมการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิตศาสตร์มีความสามารถคิดวิเคราะห์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม
               2. เด็กปฐมวัยที่เรียนคณิตศาสตร์โดยใช้ชุดกิจกรรมการคิดวิเคราะห์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
               3. ชุดกิจกรรมพัฒนาความสามารถการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิดศาสตร์ของเด็กปฐมวัยมีประสิทธิภาพ 80/80
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
               เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นกครั้งนี้ประกอบด้วย
                              1. แผนการเรีขนรู้
                              2. ชุดกิจกรรมการคิดวิเคราะห์ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
                              3. แบบทดสอบหลังใช้ชุดกิจกรรม
ชั้นตอนการรวบรวมข้อมูล
               การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัขเชิงทดลอง(Experimental Design) โดยใช้ชุดกิจกรรมการคิด
วิเคราะห์ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาความสามารถการกิดวิเคราะห์ทักษะพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ชั้นอนุบาล 3 โรงเรียนเศรษฐวิทย์ ภากเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2รร9 จำนวน 1ร คน มี
วิธีดำเนินการวิจัยดังนี้
               1. ขั้นเตรียม
                              ในคาบแรก สร้งความคุ้นเคยกับกลุ่มเป้าหมาข ชี้แจงวัตถุประสงค์ ขั้นตอนและรายละเอียด เกี่ยวกับการเขียนแก่นักรียน เรื่องการรียนรู้ การคิด
               2. ขั้นดำเนินการทดลอง
                              2.1 การวิจัยในครั้งนี้ดำเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โคย ผู้วิจัย ดำเนินการสอนตามแผนการจัคการรียนรู้ ทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์ จำนวน 15 คาบ ในแต่ละแผนการเรียนรู้จะมีชุดกิจกรรม แต่ละชุดประกอบการเรียนรู้ของเด็กและหลังจากเรียนแต่ละชุดแล้วจะมีแบบทดสอบหลังเรียน ชุดละ 10ช้อ
                              2.2 เมื่อใช้ชุดกิจกรรมครบทั้ง 5 ชุดเล้ว
                              23 ใช้เบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการรียน ทักษะพื้นฐานคณิตศาสคร์ จำนวน 5 ชุด
               3. ขั้นสรุป
                              3.1 รวบรวมข้อมูล ประมวลผลเละวิเคราะห์
การวิเคราะห์ข้อมูล
               ผู้จัยได้วิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลข้อมูล โดยมีรายละเอียดดังนี้
                              1. นำข้อมูลที่ได้จากแบบทดสอบหลังใช้ชุดกิจกรรมๆ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ทั้งหมดมาวิเคราะห์ โดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ คะแนนเฉลี่ยและค่าประสิทธิภาพ
                              2. ประมวลผล แปลผลและวิเคราะห์ข้อมูล
                              3. อกิปรายผล โดขใช้ตารางเละการพรรณนา
สรุปผล
               1. ผลการพัฒนากวามสามารถการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กระดับปฐมวัย โดยใช้ชุดกิจกรรมพบว่าภาพรวมจากการใช้แบบฝึกชุดกิจกรรมทั้ง 5 ชุด มีนักรียนที่ผ่านเกณฑ์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 จำนวน 12 กน คิดป็นร้อยละ 80 และมีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 20
               2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรีขนรู้โดยใช้ชุดกิงกรรมการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ พบว่า ภาพรามจากแบบทดสอบความสามารถในการคิดดวิคราะห์พื้นฐานทางคณิดศาสตร์ทั้ง 5 ชุด มืนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 100
               3. ผลการศึกษาประสิทธิกาพ ชุดกิกรรมพันาควมสามารถการคิดวิคราะห์พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย พบว่าชุดกิจกรรมมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 คือ 83.20/100

วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

สรุปบทความ

สรุป บทความเรื่อง คณิตสำหรับเด็ก วิธีง่าย ๆ ให้ลูกเก่งคณิตศาสตร์แบบที่ใครก็ทำได้

          การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ให้เด็ก ผู้ปกครองต้องอาศัยสถานการณ์ในชีวิตประจำวันของเด็ก เพื่อส่งเสริมความเข้าใจและต้องอาศัยการวางแผนและเตรียมการทีดี การที่เด็กจะเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้แบบเข้าใจง่าย ผู้ปกครองต้องใช้สื่อที่เป็นทั้งรูปธรรมและนามธรรมที่เกี่ยวกับ ปริมาณ จำนวน ตำแหน่ง มิติและเวลา เด็กต้องเริ่มเข้าใจในสัญลักษณ์เหมือนกับการเรียนภาษาพูด ตัวเลขจึงเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญที่ผู้ปกครองหรือครูต้องพยายามทำให้เด็กเข้าใจ แต่ไม่ใช่ให้เด็กจดจำตัวเลขให้ได้ด้วยการท่อง 1-10 หรือเขียนตัวเลขได้แต่ไม่เข้าใจเรื่องจำนวน การทำซ้ำ ๆ โดยใช้สิ่งของใกล้ตัวของจริงให้เด็กนับจับคู่ตัวเลขโดยให้เด็กทำบ่อย ๆ จนเกิดความแม่นยำจะจดจำได้นาน



ที่มา : https://www.youngciety.com/article/learning/mathematical-fun.html?fbclid=IwAR2X_6lQ1BgEPlrm08_YXiOrwZBNw9LPXO1FN7N7s3TKVnNzrZIiYQDw2og

วันจันทร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

สาธิตการสอนวันอังคาร


สาธิตวิธีการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ( วันอังคาร )


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14
วันที่ 27 เมษายน 2562  เวลา  08.00 - 12.30 น.
จัดทำโดย
นาวสาว กังสดาล   สังวรสินธุ์

เนื้อหาที่เรียน
          วันนี้เป็นการสอนคาบสุดท้าย อาจารย์ได้ทบทวนในแผนของแต่ละกลุ่มเพราะยังมีข้อผิดพลาดบ้างส่วน และเรื่องการสอนเด็กในวันอังคาร(เรื่องลักษณะ) โดยจะต้องทำเป็นลำดับขั้นตอนของการสอน
          1.ถามชื่อของมะละกอชนิดต่างๆ
          2.ให้เด็กลองสังเกตลักษณะด้วยตาก่อน เช่น สี รูปทรง เป็นลำดับแรกถามเด็กและบันทึกลงในตาราง
          3.ให้เด็กได้ลองสัมผัสพื้นผิว ดมกลิ่น และชิม ถามเด็กและบันทึกลงในตาราง
          4.ต้องสรุป ว่ามะละกอแต่ละชนิดมีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร
คำศัพท์
          1.Square              สี่เหลี่ยมจัสตุรัส
          2.Rectangle         สี่เหลี่ยมผืนผ้า
          3.Pentagon          ห้าเหลี่ยม
          4.Hexagon           หกเหลี่ยม

          5.Octagon            แปดเหลี่ยม
การประเมิน
          ประเมินตัวเอง : ตั้งใจฟังที่อาจารย์อธิบายและตั้งใจดูที่อาจารย์สาธิตการสอน

          ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์อธิบาย

วันอาทิตย์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

สาธิตการสอนวันจันทร์


สาธิตวิธีการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ( วันจันทร์ )



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13
วันที่ 20 เมษายน 2562  เวลา  08.00 - 12.30 น.
จัดทำโดย
นาวสาว กังสดาล   สังวรสินธุ์
กิจกรรมงานที่ได้รับมอบหมาย
          อาจาร์ยก็ได้ให้นักศึกษาเตรียมอุปกรณ์สาธิตการสอนดังนี้
                         1.แก้ว
                         2.ปากกา 3 แท่ง
                         3.ดินสอ4แท่ง
                         4.สีเมจิก2แท่ง
                         5.กระดาษA4 1แผ่น 
                         6.ข้าวสาร
                         7.ตะเกียบ 1อัน
รูปภาพประกอบ


               อาจารย์ได้มอบหมายงานให้อัดคลิปสาธิตการสอนในหมวดของ อุปกรณ์เครื่องเขียน โดยยึดจากแผนการจัดประสบการณ์ในวันจันทร์ของแต่ละกลุ่มโดยใช้อุปกรณ์เครื่องเขียนที่อาจารย์กำหนดให้ โดยให้ส่งภายในวันศุกร์
คำศัพท์
          1.Length                  ความยาว
          2.Height                  ความสูง
          3.Width                   ความกว้าง
          4.Perimeter             เส้นรอบวง
          5.Angle                   มุม
การประเมิน
          ประเมินตนเอง : อาจจะงงกับเนื้อหาบางอย่างเล็กน้อย
          ประเมินเพื่อน : เพื่อนค่อนข้างตั้งใจเรียน

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10
วันที่ 13 เมษายน 2562  เวลา  08.00 - 12.30 น.
จัดทำโดย
นาวสาว กังสดาล   สังวรสินธุ์
เนื้อหาที่เรียน
      วันนี้อาจารย์สอนและให้ทุกกลุ่มปรับแก้ไขแผนของตัวเอง จากนั้นให้อัดคลัปการสอนเรื่องเครื่องเขียน โดยมีขั้นตอน ดังนี้  
               1. มีเพลง หรือคำล้องจอง
                              รอบแรกร้องให้เด็กฟัง
                              รอบที่ 2ให้เด็กๆร้องตาม
                              รอบที่ 3 ร้องพร้อมกันกับเด็ก
                              คำคล้องจอง เครื่องเขียน
                              เครื่องเขียน  มีหลายชนิด
                              ปากกา ดินสอ  เด็กๆรู้จักไหมหนอ
                              เครื่องเขียน      มีหลายชนิด
               2.ถามคำถามเด็ก เด็กๆจำได้ไหมในคำล้องจองที่ท่องกันไปเมื่อกี้พูดถึงเครื่องเขียนอะไรบ้าง
                  ถามต่อ                นอกจากเครื่องเขียนในคำคล้องจองแล้วเด็กๆรู้จักเครื่องเขียนชนิดอื่นมั้ย
    * ให้บันทึกคำตอบของเด็กลงmy map *
               3.นำเครื่องเขียนที่เราเตรียมไว้ให้เด็กดู
                ถามคำถาม เด็กๆลองดูสิว่าในแก้ใบนี้มีเครื่องเขียนทั้งหมดกี่แท่ง
               4.หยิบออกมานับที่ละแท่งพร้อมบอกชื่อ เช่น แท่งที่1 ดินสอ แท่งที่2ดินสอ แท่งที่3ปากกา เป็นต้น โดยเรียงจากซ้ายไปขวา ของเด็ก จบจนถึงแท่งสุดท้าย
               5.ถามเด็กว่า มีเครื่องเขียนทั้งหมดกี่แท่ง
   ขอตัวแทน ให้เด็กมาหยิบเลขที่สัมพันธ์กันมาวางกำกับ
               6.จัดหมวดหมู่โดยใช้เกณฑ์ ตัวอย่าง ใช้เกณฑ์กลุ่มที่เป็นปากกา
   ขอตัวเด็กออกมาแยกกลุ่มที่เป็นปากกา (จะได้เป็น 2กลุ่ม)
               7.คำถาม เด็กๆลองดูสิว่ากลุ่มไหนมีจำนวนมากกว่ากัน
               8.จับคู่แบบหยิบออก 1:1   กลุ่มไหนเหลือแสดงว่ากลุ่มนั้นมากกว่า สรุปว่า กลุ่ม... มากว่าลุ่ม...
               9.ทบทวนทั้งหมดที่เรียนว่าเด็กได้อะไรบ้าง นำmy map ที่เขียนมาให้เด็กดูและพูดทบทวน
คำศัพท์
          1.Calculus               แคลคูลัส

          2.Statistics              สถิติ
          3.Integer                  จำนวนเต็ม
          4.Average               ค่าเฉลี่ย
          5.Even Number       เลขคู่
การประเมิน

          ประเมินตนเอง: ตอบคำถามที่อาจารย์ถาม
          ประเมินเพื่อน:   ฟังและตอบคำถาม

เพลง หนึ่งปีมีสิบสองเดือน


🌷 เพลง หนึ่งปีมีสิบสองเดือน 🌷
หนึ่งปี นั้นมี สิบสองเดือน
อย่าลืมเลือน จำไว้ ให้มั่น
หนึ่งสัปดาห์ นั้นมี เจ็ดวัน (ซ้ำ)
อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ
พฤหัส ศุกร์ เสาร์






วันเสาร์ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11
วันที่ 30 มีนาคม 2562  เวลา  08.00 - 12.30 น.
จัดทำโดย
นาวสาว กังสดาล   สังวรสินธุ์
เนื้อหาที่เรียน
                    วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาเเละสอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเเก้ไขเเผนประสบการณ์จากการเรียนครั้งที่แล้วเนื่องจากต้องเพิ่มเติมเนื้อหาในเเต่ละวันเช่น สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้

วัตถุประสงค์
เพื่อให้เด็กสามารถ
           1.บอกลักษณะของชนิดส้ม
            2.รู้จักส่วนประกอบของส้ม
             3.รู้ความแตกต่างของชนิดส้ม
สาระที่ควรเรียนรู้
              ลักษณะของส้ม
ประสบการณ์สำคัญ
          ด้านร่างกาย
                         -การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในการหยิบจับอุปกรณ์การดูแล
          ด้านอารมณ์-จิตใจ
                         -พูดสะท้อนความรู้สึกตนเองและผู้อื่น
          ด้านสังคม
                         -การให้ความร่วมมือในการปฎิบัติกิจกรรมต่างๆ
          ด้านสติปัญญา
                         -การเปรียบเทียบ
                         -การนับและบอกจำนวน
กิจกรรมการเรียนรู้         
ขั้นนำ
          1.ครูและเด็กร่วมกันทายปริศนาคำทายเกี่ยวกับส้ม
ขั้นดำเนินการ
          1.ครูสนทนาและถามถึงเนื้อหาในวิดีโอ
          2.ครูสนทนากับเด็กเรื่องลักษณะของส้ม และพูดถึงประสบการณ์เดิมของเด็ก
          3.ครูให้เด็กนำส้มมา 2 ชนิด เรียงกันแล้วนำมาเปรียบเทียบ
ชนิด
ส่วน
ประกอบ
สี
ขนาด
พื้นผิว
รูปร่าง
รสชาติ
ส้มเขียวหวาน
เปลือก เนื้อ เม็ด
เขียวอมเหลือง
ทั่วไป
เรียบ
ทรงกลม
หวานอมเปรี้ยว
ส้มจีน
เปลือกเนื้อ เม็ด
ส้ม
เล็ก
เรียบ
ทรงกลมเล็ก
หวานอมเปรี้ยว
ขั้นสรุป
   1.ครูและเด็กสนทนาและสรุปเกี่ยวกับลักษณะของส้ม
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
          1.ปริศนาคำทายลักษณะของส้ม
          2.ส้มเขียวหวาน
          3.ส้มจีน
การวัดและประเมินผล
          - สังเกตพฤติกรรมเด็กผ่านกิจกรรม
          -ฟังจากการตอบคำถาม
การบูรณาการ
          1.พื้นฐานคณิตศาสตร์ จำนวน ลำดับขั้น
          2.ภาษา
คำศัพท์
          1.Decima                เลขทศนิยม
          2.Greater than        มากกว่า
          3.Calculation         การคำนวณ
          4.Plus                      บวก

          5.Minus                   ลบ
การประเมิน
          ประเมินตัวเอง : ได้ความรู้ที่เพิ่มขึ้นในการทำแผนการสอนเเละนำมาปรับปรุงเเก้ไขข้อผิดพลาด
          ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจฟังที่อาจารย์สอน