นำเสนอบทความเรื่อง คณิตสำหรับเด็ก วิธีง่าย ๆ ให้ลูกเก่งคณิตศาสตร์แบบที่ใครก็ทำได้
EAED2203การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เเฟ้มสะสมผลงาน ภาคการศึกษา 2/2562
บันทึกครั้งที่ 8
- หน้าแรก
- บันทึกครั้งที่ 1
- บันทึกครั้งที่ 2
- บันทึกครั้งที่3
- บันทึกครั้งที่ 4
- บันทึกครั้งที่ 5
- บันทึกครั้งที่ 6
- บันทึกครั้งที่ 7
- บันทึกครั้งที่ 8
- บันทึกครั้งที่ 9
- บันทึกครั้งที่ 10
- บันทึกครั้งที่ 11
- เพลง หนึ่งปีมีสิบสองเดือน
- บันทึกครั้งที่ 12
- บันทึกครั้งที่ 13
- สาธิตการสอนวันจันทร์
- บันทึกครั้งที่ 14
- สาธิตการสอนวันอังคาร
- สรุปบทความ
- สรุปวิจัย
- นำเสนอบทความ
วันพุธที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2563
วันอังคารที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2563
สรุปงานวิจัย
งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง
รื่องการพัฒนากวามสามารถการกิดวิเกราะห์พื้นฐานทางคณิตสาสตร์ของเด็กระดับปฐมวัย
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.ศึกษาพัฒนาความสามารถการคิดวิเกราะห์พื้นฐานทางคณิตตาสตร์ของเด็กระดับปฐมวัยโดยใช้ชุดกิจกรรม
2.ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรีขนรู้โคขใช้ชุดกิจกรรมการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิตศาสตร์
3.
ศึกษาประสิทธิภพ ชุดกิจกรรมพัฒนาความสามารถการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิดศาสตร์ของเด็กปฐมวัยเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการเรียนรู้ โดยใช้โครงงาน
สมมติฐานของการวิจัย
1.เค็กปฐมวัยที่จัดประสบการณ์โดยใช้ชุดกิจกรรมการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิตศาสตร์มีความสามารถคิดวิเคราะห์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ
80 ของคะแนนเต็ม
2.
เด็กปฐมวัยที่เรียนคณิตศาสตร์โดยใช้ชุดกิจกรรมการคิดวิเคราะห์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ
80
3.
ชุดกิจกรรมพัฒนาความสามารถการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิดศาสตร์ของเด็กปฐมวัยมีประสิทธิภาพ
80/80
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นกครั้งนี้ประกอบด้วย
1.
แผนการเรีขนรู้
2.
ชุดกิจกรรมการคิดวิเคราะห์ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
3.
แบบทดสอบหลังใช้ชุดกิจกรรม
ชั้นตอนการรวบรวมข้อมูล
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัขเชิงทดลอง(Experimental Design) โดยใช้ชุดกิจกรรมการคิด
วิเคราะห์ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
เพื่อพัฒนาความสามารถการกิดวิเคราะห์ทักษะพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ชั้นอนุบาล 3
โรงเรียนเศรษฐวิทย์ ภากเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2รร9 จำนวน 1ร คน มี
วิธีดำเนินการวิจัยดังนี้
1.
ขั้นเตรียม
ในคาบแรก
สร้งความคุ้นเคยกับกลุ่มเป้าหมาข ชี้แจงวัตถุประสงค์ ขั้นตอนและรายละเอียด เกี่ยวกับการเขียนแก่นักรียน
เรื่องการรียนรู้ การคิด
2.
ขั้นดำเนินการทดลอง
2.1
การวิจัยในครั้งนี้ดำเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โคย ผู้วิจัย ดำเนินการสอนตามแผนการจัคการรียนรู้
ทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์ จำนวน 15 คาบ ในแต่ละแผนการเรียนรู้จะมีชุดกิจกรรม
แต่ละชุดประกอบการเรียนรู้ของเด็กและหลังจากเรียนแต่ละชุดแล้วจะมีแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดละ 10ช้อ
2.2
เมื่อใช้ชุดกิจกรรมครบทั้ง 5 ชุดเล้ว
23
ใช้เบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการรียน ทักษะพื้นฐานคณิตศาสคร์ จำนวน 5 ชุด
3.
ขั้นสรุป
3.1
รวบรวมข้อมูล ประมวลผลเละวิเคราะห์
การวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้จัยได้วิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลข้อมูล
โดยมีรายละเอียดดังนี้
1.
นำข้อมูลที่ได้จากแบบทดสอบหลังใช้ชุดกิจกรรมๆ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
ทั้งหมดมาวิเคราะห์ โดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ คะแนนเฉลี่ยและค่าประสิทธิภาพ
2.
ประมวลผล แปลผลและวิเคราะห์ข้อมูล
3.
อกิปรายผล โดขใช้ตารางเละการพรรณนา
สรุปผล
1.
ผลการพัฒนากวามสามารถการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กระดับปฐมวัย โดยใช้ชุดกิจกรรมพบว่าภาพรวมจากการใช้แบบฝึกชุดกิจกรรมทั้ง
5 ชุด มีนักรียนที่ผ่านเกณฑ์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 จำนวน 12 กน คิดป็นร้อยละ 80 และมีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์
จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 20
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรีขนรู้โดยใช้ชุดกิงกรรมการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิตศาสตร์
พบว่า ภาพรามจากแบบทดสอบความสามารถในการคิดดวิคราะห์พื้นฐานทางคณิดศาสตร์ทั้ง 5
ชุด มืนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 100
3.
ผลการศึกษาประสิทธิกาพ ชุดกิกรรมพันาควมสามารถการคิดวิคราะห์พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
พบว่าชุดกิจกรรมมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 คือ 83.20/100
วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2563
สรุปบทความ
สรุป บทความเรื่อง คณิตสำหรับเด็ก วิธีง่าย ๆ ให้ลูกเก่งคณิตศาสตร์แบบที่ใครก็ทำได้
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ให้เด็ก ผู้ปกครองต้องอาศัยสถานการณ์ในชีวิตประจำวันของเด็ก เพื่อส่งเสริมความเข้าใจและต้องอาศัยการวางแผนและเตรียมการทีดี
การที่เด็กจะเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้แบบเข้าใจง่าย ผู้ปกครองต้องใช้สื่อที่เป็นทั้งรูปธรรมและนามธรรมที่เกี่ยวกับ
ปริมาณ จำนวน ตำแหน่ง มิติและเวลา
เด็กต้องเริ่มเข้าใจในสัญลักษณ์เหมือนกับการเรียนภาษาพูด
ตัวเลขจึงเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญที่ผู้ปกครองหรือครูต้องพยายามทำให้เด็กเข้าใจ
แต่ไม่ใช่ให้เด็กจดจำตัวเลขให้ได้ด้วยการท่อง 1-10
หรือเขียนตัวเลขได้แต่ไม่เข้าใจเรื่องจำนวน การทำซ้ำ ๆ
โดยใช้สิ่งของใกล้ตัวของจริงให้เด็กนับจับคู่ตัวเลขโดยให้เด็กทำบ่อย ๆ
จนเกิดความแม่นยำจะจดจำได้นาน
ที่มา : https://www.youngciety.com/article/learning/mathematical-fun.html?fbclid=IwAR2X_6lQ1BgEPlrm08_YXiOrwZBNw9LPXO1FN7N7s3TKVnNzrZIiYQDw2og
วันจันทร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2563
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14
วันที่ 27 เมษายน 2562 เวลา 08.00 - 12.30 น.
จัดทำโดย
นาวสาว กังสดาล สังวรสินธุ์
เนื้อหาที่เรียน
วันนี้เป็นการสอนคาบสุดท้าย
อาจารย์ได้ทบทวนในแผนของแต่ละกลุ่มเพราะยังมีข้อผิดพลาดบ้างส่วน
และเรื่องการสอนเด็กในวันอังคาร(เรื่องลักษณะ)
โดยจะต้องทำเป็นลำดับขั้นตอนของการสอน
1.ถามชื่อของมะละกอชนิดต่างๆ
2.ให้เด็กลองสังเกตลักษณะด้วยตาก่อน
เช่น สี รูปทรง เป็นลำดับแรกถามเด็กและบันทึกลงในตาราง
3.ให้เด็กได้ลองสัมผัสพื้นผิว
ดมกลิ่น และชิม ถามเด็กและบันทึกลงในตาราง
4.ต้องสรุป
ว่ามะละกอแต่ละชนิดมีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร
คำศัพท์
คำศัพท์
1.Square สี่เหลี่ยมจัสตุรัส
2.Rectangle สี่เหลี่ยมผืนผ้า
3.Pentagon ห้าเหลี่ยม
4.Hexagon หกเหลี่ยม
5.Octagon แปดเหลี่ยม
การประเมิน
ประเมินตัวเอง :
ตั้งใจฟังที่อาจารย์อธิบายและตั้งใจดูที่อาจารย์สาธิตการสอน
ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์อธิบาย
วันอาทิตย์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2563
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13
วันที่ 20 เมษายน 2562 เวลา 08.00 - 12.30 น.
จัดทำโดย
นาวสาว กังสดาล สังวรสินธุ์
กิจกรรมงานที่ได้รับมอบหมาย
อาจาร์ยก็ได้ให้นักศึกษาเตรียมอุปกรณ์สาธิตการสอนดังนี้
1.แก้ว
2.ปากกา 3 แท่ง
3.ดินสอ4แท่ง
4.สีเมจิก2แท่ง
5.กระดาษA4 1แผ่น
6.ข้าวสาร
7.ตะเกียบ 1อัน
รูปภาพประกอบ
อาจารย์ได้มอบหมายงานให้อัดคลิปสาธิตการสอนในหมวดของ
อุปกรณ์เครื่องเขียน โดยยึดจากแผนการจัดประสบการณ์ในวันจันทร์ของแต่ละกลุ่มโดยใช้อุปกรณ์เครื่องเขียนที่อาจารย์กำหนดให้
โดยให้ส่งภายในวันศุกร์
คำศัพท์
1.Length ความยาว
2.Height ความสูง
3.Width
ความกว้าง
4.Perimeter
เส้นรอบวง
5.Angle มุม
การประเมิน
ประเมินตนเอง : อาจจะงงกับเนื้อหาบางอย่างเล็กน้อย
ประเมินเพื่อน : เพื่อนค่อนข้างตั้งใจเรียน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)